🔥ต่อลงดิน เปิดรับสมัครแล้ว🔥
หลักสูตร “เจาะลึกการต่อลงดินในระบบไฟฟ้า รุ่นที่ 1" แบบ On-site
ณ โรงแรมทีเค.พาเลซ แอนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพ
ระบบการต่อลงดินถือเป็นหัวใจสำคัญของระบบไฟฟ้า ทำให้ระบบไฟฟ้าทำงานได้อย่างสมบูรณ์ มีความปลอดภัยต่อบุคคลและอุปกรณ์ ระบบไฟฟ้าไม่ว่าจะเป็นระบบเล็กหรือระบบใหญ่ จะเป็นบ้านอยู่อาศัย ไปจนถึงอาคารขนาดใหญ่ หรือแม้กระทั่งอาคารโรงงาน สถานประกอบกิจการต่างๆ ล่วนแต่ต้องมีการติดตั้งระบบการต่อลงดินทั้งสิ้น ดังนั้น การเข้าใจระบบการต่อลงดินจึงจำเป็น การทำความเข้าใจในหลักการ การออกแบบและติดตั้งอย่างถูกวิธี จะช่วยให้ระบบไฟฟ้ามีความสมบูรณ์ถูกต้อง
ในหลักสูตรนี้จะเริ่มตั้งแต่ปูพื้นตลอดจนสามารถออกแบบระบบการต่อลงดินได้อย่างเหมาะสม ปลอดภัยและเป็นไปตามมาตรฐาน ข้อกำหนด และหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องรวมถึงเทคโนโลยีต่างๆ ที่มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง
• เป้าหมาย •
ผู้เข้าร่วมอบรมทุกคนมีความเข้าใจ หลักการ ข้อกำหนด มาตรฐาน
และสามารถออกแบบระบบการต่อลงดินในระบบไฟฟ้าต่างๆ ได้อย่างเหมาะสมและปลอดภัย
• การอบรมนี้เหมาะกับใคร •
- ผู้ออกแบบ/ผู้ติดตั้ง
- เจ้าของโครงการ
- นักศึกษา
- บุคคลทั่วไปที่สนใจ
• วิทยากร •
วุฒิวิศวกรไฟฟ้า ประสบการณ์ตรงด้านออกแบบระบบไฟฟ้ากว่า 15 ปี
• เนื้อหาการอบรม •
- ระบบการต่อลงดินตามมาตรฐาน IEC
- ระบบการต่อลงดินของประเทศไทยตามมาตรฐาน วสท.
- ระบบการต่อลงดินตามมาตรฐานการไฟฟ้า
- เปรียบเทียบการต่อลงดินแบบต่างๆ
- ระบบที่ไม่ต้องมีการต่อลงดิน
- การต่อลงดินตาม มาตรฐานการติดตั้งฯ วสท.
- การต่อลงดินของหม้อแปลง
- การต่อลงดินของระบบไฟฟ้าแรงต่ำ
- การต่อลงดินของบริภัณฑ์ไฟฟ้า
- การออกแบบ/การใช้งานตาราง 4-1, 4-2 มาตรฐาน วสท.
- การต่อลงดินของระบบที่มีตัวจ่ายแยกต่างหาก
- ตู้เมนไม่ต่อลงดิน มีข้อเสียอะไรบ้าง
- การเกิดแรงดันเกิน กรณีสาย N ของ กฟฟ. ขาด และระบบไฟฟ้าของ ผชฟ. ไม่มีการต่อลงดิน
- สาย N G เดินไปเส้นเดียวแล้วจั้มกันได้หรือไม่
- ทำไมถึงห้ามต่อลงดินจุดอื่นๆ
- ทำไมถึงห้ามต่อลงดินที่บริภัณฑ์โดยตรง
- บริภัณฑ์ไฟฟ้าที่ไม่บังคับให้ต่อลงดิน
- การตรวจจับกระแสรั่วไหลลงดิน
- วงจรที่ต้องติดตั้งเครื่องป้องกันไฟรั่ว
- Earth Loop Impedance
- การต่อลงดินของหม้อแปลงในระบบจำหน่ายของ กฟฟ.
- ค่าความต้านทานการต่อลงดินของ N ของระบบ ทำไมต้อง 2, 5, 25 โอห์ม
- ระยะห่างการต่อลงดินแรงสูง แรงต่ำ
- กรณีเกิดแรงดันเกินอุปกรณ์ไฟฟ้าชำรุดเนื่องจากจุดต่อลงดินแรงสูงแรงต่ำอยู่ใกล้กัน
- การต่อลงดินหม้อแปลง (Outdoor) แบบนั่งร้าน
- การต่อลงดินของ RMU (HV Switch gear)
- การต่อลงดินระบบ UG แรงสูง
- การต่อลงดินในห้อง MDB
- การต่อลงดินของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า
- การต่อลงดินของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
- การต่อลงดินของ SPD
- การต่อลงดินของระบบป้องกันฟ้าผ่า
- สายดินวงแหวน, การต่อลงดินแบบ Grid
- การต่อประสานศักดิ์
- การต่อลงดินของระบบ Solar Rooftop
- การต่อลงดินของระบบ EV Charger
- การต่อลงดินของเครื่องมือวัด มิเตอร์ และรีเลย์
- การคำนวณค่าความต้านทานดินแบบต่างๆ
- การวัดค่าความต้านทานการต่อลงดิน โดยใช้ Eath tester vs Ground clamp
- พื้นที่หน้างานเป็นคอนกรีต วัดค่าความต้านทานการต่อลงดินอย่างไร
- การปรับปรุงค่าการต่อลงดิน
- ค่าความต้านการต่อลงดินสูงทำอย่างไร
- การบำรุงรักษาระบบการต่อลงดิน
- กรณีศึกษาต่างๆ ที่สำคัญ แทรกอยู่ในทุกๆ หัวข้อ
• วัน เวลา สถานที่ ในการอบรม •
วันเสาร์ ที่ 31 พฤษภาคม 2568 เวลา 9.00-16.30 น.
ณ โรงแรมทีเค.พาเลซ แอนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพ
[พิกัด
https://maps.app.goo.gl/L3WSj2xAh8j9NyRt5]
มีที่จอดรถยนต์ หรือ สามารถเดินทางโดยรถไฟฟ้าสายสีชมพู
ลงสถานี ลงสถานีแจ้งวัฒนะ 14
• ค่าใช้จ่ายในการลงทะเบียนอบรม •
***3,200 บาท*** รวมค่าเอกสาร เบรค และอาหารกลางวันแบบ buffet
#ขอสงวนสิทธ์ในการจองเข้าร่วมอบรมสำหรับผู้ที่โอนเงินก่อนเท่านั้น
[Early Bird ราคา 2,900 บาท เมื่อชำระภายในวันที่ 25 เมษายน 2568]
• สิ่งที่ผู้อบรมจะได้รับ •
- รูปเล่มและไฟล์เนื้อหารุ่นที่ 1
- ไฟล์ข้อมูลข้อกำหนด, มาตรฐานที่เกี่ยวข้อง
- ใบประกาศการผ่านหลักสูตรอบรม
- สามารถบันทึกคะแนนเพื่อขอรับหน่วย PDU ของสภาวิศวกรได้ 6 หน่วย
- เข้าไลน์กลุ่มเพื่อ Update ข้อมูล/สอบถามปัญหา
- มีข้อสงสัยโทรปรึกษาวิทยากรได้ตลอดเวลา
• ลงทะเบียนเข้าร่วมอบรม •
โปรดติดต่อ
Line ID: Minnieholly
Tel : 064-8955699, 063-7955955
You may also like the following events from วิศวกรออกแบบไฟฟ้า Electrical Design Engineer: